พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระปิดตาหลวงพ่อ...
พระปิดตาหลวงพ่อทองสุข พิมพ์ตะพาบ-เข่ากว้าง สะดือจุ่น ยุคแรก วัดสะพานสูง (พิมพ์นิยม-สวยแชมป์)
พระปิดตาหลวงพ่อทองสุข พิมพ์ตะพาบ-เข่ากว้าง สะดือจุ่น ยุคแรก วัดสะพานสูง (พิมพ์นิยม)
-สภาพสวยแชมป์
-ได้รับการตรวจเช็คจากสถาบันรับรองและตรวจสอบวัตถุมงคลประเทศไทย ของเซียน ป๋อง สุพรรณ
***********************
ข้อมูลประวัติ หลวงพ่อทองสุข อินทสาโร (พระครูนนทกิจโสภณ) วัดสะพานสูข นนทบุรี
เกิด ๑๑ มีนาคม ๒๔๔๖ แรม ๑๐ ค่ำเดือน ๔ ปีเถาะ ที่บ้านหนองไผ่เหลือง ต.หนองนาน อ.เมือง จ.เพชรบุรี เป็นบุตรนายคง นางแพ มีพี่น้องทั้งหมด ๕ คนท่านเป็นคนสุดท้อง เมื่ออายุ ๑๑ ได้เข้าไปเรียนหนังสือที่วัดอยู่กับอาจารย์จ้อย อาจารย์สาย และอาจารย์นิ่ม วัดหนองหว้า เพชรบุรี จนอายุ ๑๓ ออกจากวัดไปอยู่ราชบุรีกับอาของท่าน แล้วกลับมาอยู่กับโยมพ่อ โยมแม่ ช่วยท่านทำนาหาเลี้ยงชีพที่บ้านเกิด
จนอายุครบ ๒๐ ปีจึงถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร กรมทหารราบที่เพชรบุรี ปลดแล้วสมัครเป็นตำรวจภูธรได้ยศสิบตำรวจตรี ประจำอยู่เพชรบุรี ๒ ปีแล้วถูกย้ายไปจังหวัดต่างๆ ทั้งพัทลุง,ชุมพร,ด่านสะเดา สงขลา,จนได้ยศ สิบตำรวจโทก็ถูกย้ายไปนราธิวาส,สตูล,อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี,อ.จตุรัส จ.ชัยภูมิ,จ.สุรินทร์
จนครั้งหลังสุดย้ายกลับมาอยู่ที่ จ.เพชรบุรี บ้านเกิด อยู่ได้เพียงหนึ่งปีก็เกิดเบื่อหน่ายทางโลก จึงลาออกจากอาชีพตำรวจ บวชเมือปี ๒๔๗๐ ที่วัดนาพรม เพชรบุรี มีพระครูพิษ เจ้าอาวาสเป็นพระอุปัชณาย์ พระอาจารย์ผ่องเป็นกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์อุปเป็นอนุสาวนาจารย์ แต่ไม่ได้จำพรรษาที่วัดนาพรม ไปจำพรรษาที่วัดหนองหว้า แต่ก็อยู้ได้เพียงพรรษาเดียว เพราะมีอาจารย์เพ็ง จากวัดสะพานสูงได้ธุดงค์มาพบกันจนท่านทั้งสองรู้จักคุ้นเคยกันเป็นอันดี ท่านอาจารย์เพ็งจึงชักชวนกันเดินทางมาจำพรรษา ณ วัดท่าเกวียน ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี จำพรรษาอยู่วัดนี้ ๓ พรรษา จึงพากันย้ายมาอยู่วัดสะพานสูงในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อมาศึกษาพระปริยัติธรรม มีพระครูโสภณศาสนกิจ (หลวงปู่กลิ่น) เป็นเจ้าอาวาส และอาจารย์เพ็งเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม จน ๒๔๗๕ สอบนักธรรมได้ ๒๔๗๖ ได้นักธรรมโท พอดีวัดสะพานสูงขาดครูสอนพระปริยัติธรรม หลวงปู่กลิ่นจึงมอบหมายหน้าที่สอนพระปริยัติธรรมให้พระภิกษุสามเณรช่วยกัน หลวงพ่อทองสุขได้เรียนตำราเวทย์ และพระคาถรสำคัญๆต่างๆของวัดสะพานสูง เช่น การลงตะกรุด การทำผง พระปิดตา ทำน้ำมนต์ จากหลวงปู่กลิ่นจนหมดสิ้น จนเมื่อปี ๒๔๘๒ ได้รับตำแหน่งเป็นกรรมวาจาจารย์ ปี ๒๔๙๗ หลวงปู่กลิ่นมรณะภาพลง ท่านจึงขึ้นรักษาการตำแหน่งเจ้าอาวาสอยู่หนึ่งปี ปี ๒๔๙๑ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสจากความห็นชอบของคณะสงฆ์ และอุบาสก อุบาสิกาวัดสะพานสูง ๙ พฤษภาคม ๒๕๐๘ จึงได้รับแต่งตั่งเป็นพระอุปัชณาย์ ปกครองวัดด้วยคุณธรรมอบรมสั่งสอนภิกษุสามเณรให้อยู่ในพระธรรมวินัย
จนวัดมีความเจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำดับ บั่นปลายของชีวิตท่านต้องรับภาระอย่างหนัก ทั้งประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือจากท่านต่างๆนาๆ ภาระกิจของคณะสงฆ์ และกิจการงานต่างๆของวัดสะพานสูง จน ๒๐ มีนาคม ๒๕๒๕ ท่านอาพาธด้วยอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ลูกศิษย์ได้นำท่านส่งโรงพยาบาลเพชรเวช จน ๗ เมษายน ๒๕๒๕ เวลา ๐๘.๐๐ น.ท่านได้มรณะภาพลงด้วยอาการอันสงบ ศิริอายุได้ ๗๙ ปี ๑๙ วัน
ผู้เข้าชม
6977 ครั้ง
ราคา
99000
สถานะ
ยังอยู่
โดย
พีพีพระเครื่อง
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
ร้านค้า
ppprakroung.99wat.com
โทรศัพท์
0894483434
ไอดีไลน์
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6
พระปิดตาเจ้าคุณผล พิมพ์นะหัวเข
เหรียญธนาคารศรีนคร "พระคันธราฐ
พระผงหลวงปู่เอี่ยม พิมพ์ซุ้มระ
เหรียญหลวงพ่อคูณ รุ่นรับเสด็จ
เหรียญหลวงพ่อเขียน หลังพระเจ้า
พระสมเด็จหลวงปู่นาค พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า พิมพ์อก
พระหลวงพ่อโต พิมพ์ขัดสมาธิ กรุ
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์สังฆฏิ
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Le29Amulet
นานา
เจริญสุข
เจนพระเครือง
gofubon
เปียโน
พีพีพระเครื่อง
ภูมิ IR
swat
Kittipan
luiopiop
หริด์ เก้าแสน
ชาวานิช
ชา วานิช
เทพจิระ
เนินพระ99
แหลมร่มโพธิ์
Leksoi8
natthanet
hopperman
จ่าดี พระกรุ
aonsamui
บ้านพระสมเด็จ
อ้วนโนนสูง
บ้านพระหลักร้อย
trairat
aofkolok
โกหมู
พุทธศาสตร์99
jocho
ผู้เข้าชมขณะนี้ 828 คน
เพิ่มข้อมูล
พระปิดตาหลวงพ่อทองสุข พิมพ์ตะพาบ-เข่ากว้าง สะดือจุ่น ยุคแรก วัดสะพานสูง (พิมพ์นิยม-สวยแชมป์)
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระปิดตาหลวงพ่อทองสุข พิมพ์ตะพาบ-เข่ากว้าง สะดือจุ่น ยุคแรก วัดสะพานสูง (พิมพ์นิยม-สวยแชมป์)
รายละเอียด
พระปิดตาหลวงพ่อทองสุข พิมพ์ตะพาบ-เข่ากว้าง สะดือจุ่น ยุคแรก วัดสะพานสูง (พิมพ์นิยม)
-สภาพสวยแชมป์
-ได้รับการตรวจเช็คจากสถาบันรับรองและตรวจสอบวัตถุมงคลประเทศไทย ของเซียน ป๋อง สุพรรณ
***********************
ข้อมูลประวัติ หลวงพ่อทองสุข อินทสาโร (พระครูนนทกิจโสภณ) วัดสะพานสูข นนทบุรี
เกิด ๑๑ มีนาคม ๒๔๔๖ แรม ๑๐ ค่ำเดือน ๔ ปีเถาะ ที่บ้านหนองไผ่เหลือง ต.หนองนาน อ.เมือง จ.เพชรบุรี เป็นบุตรนายคง นางแพ มีพี่น้องทั้งหมด ๕ คนท่านเป็นคนสุดท้อง เมื่ออายุ ๑๑ ได้เข้าไปเรียนหนังสือที่วัดอยู่กับอาจารย์จ้อย อาจารย์สาย และอาจารย์นิ่ม วัดหนองหว้า เพชรบุรี จนอายุ ๑๓ ออกจากวัดไปอยู่ราชบุรีกับอาของท่าน แล้วกลับมาอยู่กับโยมพ่อ โยมแม่ ช่วยท่านทำนาหาเลี้ยงชีพที่บ้านเกิด
จนอายุครบ ๒๐ ปีจึงถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร กรมทหารราบที่เพชรบุรี ปลดแล้วสมัครเป็นตำรวจภูธรได้ยศสิบตำรวจตรี ประจำอยู่เพชรบุรี ๒ ปีแล้วถูกย้ายไปจังหวัดต่างๆ ทั้งพัทลุง,ชุมพร,ด่านสะเดา สงขลา,จนได้ยศ สิบตำรวจโทก็ถูกย้ายไปนราธิวาส,สตูล,อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี,อ.จตุรัส จ.ชัยภูมิ,จ.สุรินทร์
จนครั้งหลังสุดย้ายกลับมาอยู่ที่ จ.เพชรบุรี บ้านเกิด อยู่ได้เพียงหนึ่งปีก็เกิดเบื่อหน่ายทางโลก จึงลาออกจากอาชีพตำรวจ บวชเมือปี ๒๔๗๐ ที่วัดนาพรม เพชรบุรี มีพระครูพิษ เจ้าอาวาสเป็นพระอุปัชณาย์ พระอาจารย์ผ่องเป็นกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์อุปเป็นอนุสาวนาจารย์ แต่ไม่ได้จำพรรษาที่วัดนาพรม ไปจำพรรษาที่วัดหนองหว้า แต่ก็อยู้ได้เพียงพรรษาเดียว เพราะมีอาจารย์เพ็ง จากวัดสะพานสูงได้ธุดงค์มาพบกันจนท่านทั้งสองรู้จักคุ้นเคยกันเป็นอันดี ท่านอาจารย์เพ็งจึงชักชวนกันเดินทางมาจำพรรษา ณ วัดท่าเกวียน ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี จำพรรษาอยู่วัดนี้ ๓ พรรษา จึงพากันย้ายมาอยู่วัดสะพานสูงในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อมาศึกษาพระปริยัติธรรม มีพระครูโสภณศาสนกิจ (หลวงปู่กลิ่น) เป็นเจ้าอาวาส และอาจารย์เพ็งเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม จน ๒๔๗๕ สอบนักธรรมได้ ๒๔๗๖ ได้นักธรรมโท พอดีวัดสะพานสูงขาดครูสอนพระปริยัติธรรม หลวงปู่กลิ่นจึงมอบหมายหน้าที่สอนพระปริยัติธรรมให้พระภิกษุสามเณรช่วยกัน หลวงพ่อทองสุขได้เรียนตำราเวทย์ และพระคาถรสำคัญๆต่างๆของวัดสะพานสูง เช่น การลงตะกรุด การทำผง พระปิดตา ทำน้ำมนต์ จากหลวงปู่กลิ่นจนหมดสิ้น จนเมื่อปี ๒๔๘๒ ได้รับตำแหน่งเป็นกรรมวาจาจารย์ ปี ๒๔๙๗ หลวงปู่กลิ่นมรณะภาพลง ท่านจึงขึ้นรักษาการตำแหน่งเจ้าอาวาสอยู่หนึ่งปี ปี ๒๔๙๑ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสจากความห็นชอบของคณะสงฆ์ และอุบาสก อุบาสิกาวัดสะพานสูง ๙ พฤษภาคม ๒๕๐๘ จึงได้รับแต่งตั่งเป็นพระอุปัชณาย์ ปกครองวัดด้วยคุณธรรมอบรมสั่งสอนภิกษุสามเณรให้อยู่ในพระธรรมวินัย
จนวัดมีความเจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำดับ บั่นปลายของชีวิตท่านต้องรับภาระอย่างหนัก ทั้งประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือจากท่านต่างๆนาๆ ภาระกิจของคณะสงฆ์ และกิจการงานต่างๆของวัดสะพานสูง จน ๒๐ มีนาคม ๒๕๒๕ ท่านอาพาธด้วยอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ลูกศิษย์ได้นำท่านส่งโรงพยาบาลเพชรเวช จน ๗ เมษายน ๒๕๒๕ เวลา ๐๘.๐๐ น.ท่านได้มรณะภาพลงด้วยอาการอันสงบ ศิริอายุได้ ๗๙ ปี ๑๙ วัน
ราคาปัจจุบัน
99000
จำนวนผู้เข้าชม
6978 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
พีพีพระเครื่อง
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
URL
http://www.ppprakroung.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0894483434
ID LINE
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี